องค์การลูกเสือเขต

องค์การลูกเสือเขต

            เนื่องจากในปัจจุบันนี้ องค์การลูกเสือมีสมาชิกถึง  156  ประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ไปทั่วโลก  ฉะนั้นเพื่อให้การบริหารงาน การปฏิบัติการและการประสานงานในกิจการลูกเสือทั้งปวงขององค์การ

ลูกเสือโลกสะดวก รวดเร็วและเกิดประสิทธิผลยิ่งขึ้น  องค์การลูกเสือโลกจึงได้แยกเป็นสาขา 6 เขต  คือ

  1. องค์การลูกเสือเขตอาฟริกา (AFRICA REGIONAL ORGANIZATION) ประกอบด้วย

องค์การสมาชิก (Member Organizations) จาก 34 ประเทศ คือ

  1. เบนิน 2. บอตสวานา  3. บูร์กินาฟาโซ  4.  บุรุนดี  5.  แคเมอรูน   6. สาธารณรัฐแอฟริกากลาง    7.  ชาด    8. คอโมโรส  9.  โกตดิวัวร์  10.  เอธิโอเปีย 11. กาบอง  12.  แกมเบีย 13.  กานา 14. กินี 15.  เคนยา 16.  เลโซโท   17.  ไลบีเรีย  18.  มาดากัสการ์ 19.  มอริเชียส  20.  นามิเบียไนจีเรีย 22.  รวันดา  23.  เซเนกัล  24.  เซียร์ราลีโอน  25.  แอฟริกาใต้  26.  สวาซีแลนด์แทนซาเนีย 28.  โตโก  29.  ยูกันดา  30.  ซาอีร์  31.  แซมเบีย 32. ซิมบับเว    33.  แองโกล่า 34.ไนเจอร์

สำนักงานลูกเสือโลก เขตแอฟริกา ตั้งอยู่ที่เมือง  ไนโรบี  ประเทศเคนยา

  1. องค์การลูกเสือเขตอาหรับ  ( ARAB REGIONAL ORGANIZATION )      ประกอบด้วย

องค์การสมาชิก ( Member Organizations ) จาก  19 ประเทศ คือ

  1. แอลจีเรีย 2. บาห์เรน   3.  อียิปต์  4.  อิรัก 5.  จอร์แดน  6.  คูเวต  7.  เลบานอน  8. ลิเบีย  9.  มอริเตเนีย    10.  โมร็อกโก 11.  โอมาน  12.  การ์ตา  13. ซาอุดิอารเบีย   14.  ซูดาน   15.  ซีเรีย    16.  ตูนิเซีย    17.  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์   18. เยเมน 19.  ปาเลสไตน์

สำนักงานลูกเสือโลก เขตอาหรับ   ตั้งอยู่ที่ กรุงไคโร  ประเทศ.  อียิปต์

  1. องค์การลูกเสือเขตเอเชีย แปซิฟิก (  ASIA – PACIFIC REGIONAL ORGANIZATION )

ประกอบด้วยองค์การสมาชิก ( Member Organizations ) จาก  23  ประเทศ คือ

  1. ออสเตรเลีย 2.  บังคลาเทศ  3. บรูไน  4.  จีน  5.  ฟิจิ  6.  ฮ่องกง  7.  อินเดีย 8. อินโดนีเซีย 9. อิหร่าน    10.  ญี่ปุ่น  11.  เกาหลี  12.  มาเลเซีย 13.  มัลดีฟส์  14. เนปาล  15.  นิวซีแลนด์